เคยสงสัยมั้ยว่าทำไมเวลาเทเบียร์ลงแก้วแล้วต้องมีฟองเบียร์ฟู่ขึ้นมาเต็มแก้ว? นอกจากจะดูน่าดื่มแล้ว ฟองเบียร์เนี่ยแหละคือตัวช่วยสำคัญที่ทำให้รสชาติของเบียร์อร่อยขึ้นเยอะเลยล่ะ
Category Archives: เบียร์ปุจฉา-คราฟต์วิสัชนา
เคยสงสัยมั้ยว่าทำไมเวลาเทเบียร์ลงแก้วแล้วเกิดฟองเบียร์ฟู่ขึ้นมาเต็มแก้ว? ฟองเบียร์ไม่ได้เกิดขึ้นมาเล่น ๆ นะครับ มันมีวิทยาศาสตร์ซ่อนอยู่เบื้องหลังเลยล่ะ
เมื่อคุณถ่าย wort จากหม้อต้มลงถังหมัก การกรองเศษตะกอน (เช่น ฮ็อปส์และโปรตีนที่ตกตะกอน) สามารถช่วยให้เบียร์ของคุณมีความใสขึ้นและลดตะกอนในถังหมัก
หากคุณเป็นคนหนึ่งที่เพิ่งทำคราฟเบียร์กินเองที่บ้าน คุณอาจสงสัยว่าเบียร์ที่คุณหมักเสร็จแล้ว คราฟเบียร์เก็บได้นานแค่ไหน? เราจะมาทำความเข้าใจการเก็บรักษาคราฟต์เบียร์กัน
ยีสต์ เป็นจุลินทรีย์ในกลุ่มราที่มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนน้ำตาลจากมอลต์ให้กลายเป็นแอลกอฮอล์และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการหมัก
Wort boiling คือขั้นตอนสำคัญในกระบวนการทำเบียร์ ซึ่งเป็นการต้ม wort หรือของเหลวที่ได้จากการสกัดน้ำตาลออกมาจากมอลต์ (หลังจากกระบวนการ Mashing)
มอลต์ (Malt) คือธัญพืชที่ถูกนำไปผ่านกระบวนการ มอลต์ติ้ง เพื่อเตรียมให้พร้อมสำหรับการทำเบียร์และเครื่องดื่มอื่นๆ เริ่มจากการนำเมล็ดธัญพืชไปแช่น้ำจนงอก
วัตถุดิบหลักในการทำเบียร์ มีอยู่ด้วยกัน 4 ชนิด- มอลต์, ฮอปส์, ยีสต์ และ น้ำนอกนั้นก็จะเป็นวัตถุดิบรองที่ ใส่ลงไปในเบียร์ด้วยหลากหลายวัตถุประสงค์
การแยกแยะว่าเบียร์ดีหรือไม่ดีสามารถพิจารณาได้จากหลายปัจจัย รสชาติที่เข้ากันอย่างลงตัว ไม่ขมเกินไปหรือหวานเกินไป กลิ่นหอมและรสชาติที่ชัดเจนตามสไตล์ของเบียร์นั้นๆ
การเติมแร่ธาตุในน้ำสำหรับการทำเบียร์ (water treatment) หรือที่ Brewer ใช้คำว่าการปรุงน้ำ คือกระบวนการที่ช่วยปรับสมดุลของน้ำเพื่อให้เหมาะสมกับสไตล์ของเบียร์
- 1
- 2